วิธีการใช้ モジュールของ ノード.jsตอนที่ 1)


ส่วนนี้จะเป็นบันทึกสรุปความเข้าใจในเรื่องของ モジュールของ ノード.jsหัวข้อการเขียนบทความที่นี่อาจจะดูสะเปะสะปะไปหน่อย แต่เดี๋ยวเวปไซต์ส่วนตัวเสร็จจะเอาบทความบางส่วนที่เขียนที่นี่ไปเรียบเรียงใหม่และจัดหัวข้อให้เป็นระเบียบ)

มาทำความรู้จักกับ モジュールของ ノード.jsกันก่อน
ในการเขียนโปรแกรมใด ๆ ก็มักจะมีการเขียนฟังก์ชั่นใช่ไหมล่ะ แต่ในการทำงานจริง ๆ ก็จะมีการเขียนฟังก์ชั่น ในการใช้งานขึ้นมาหลายตัว ดังนั้นเพื่อความเป็นระเบียบจึงทำการสร้าง モジュールซึ่งก็เป็นไฟล์ในการเก็บตัวฟังก์ชั่น ต่าง ๆ ที่จะเอามาเรียกใช้ แต่ว่าทาง ノード.jsเองก็มองไฟล์แต่ละไฟล์เป็น モジュールอยู่แล้ว สำหรับ ノード.jsจะมี 組み込みモジュールและ モジュールที่เราสร้างมาใช้งานเอง ทีนี้ก็มาลองดูตัวอย่างการสร้าง モジュールมาใช้งานขึ้นมาเอง
  • สร้าง index.jsซึ่งจะเป็น モジュールหลักในการ ランออกมา
  • สร้าง someone.jsซึ่งจะให้เป็น モジュールที่เรียกฟังก์ชั่น ที่ทำการเรียกชื่อที่ต้องการออกมา
  • ที่ someone.jsเราทำการสร้างฟังก์ชั่นง่าย ๆ สำหรับ プリントชื่อเล่นต่าง ๆ ดัง コードด้านล่าง
  • function cherry() {
     console.log('Cherry');
    }
    
    function nanny() {
     console.log('Nanny');
    }
    
    จาก コードด้านบนที่ モジュールsomeone.jsเราจะมี 2ฟังก์ชั่นที่สร้างขึ้นมา ดังนั้นจะมา エクスポートฟังก์ชั่นเหล่านี้มาใช้งานที่ index.jsกัน

    การ エクスポートตัว モジュールซึ่งจะมี 3แบบคือ
    [ข้อแนะนำ : ควรเลือกวิธีการ エクスポートอย่างใดอย่างหนึ่ง]
  • module.exports = ชื่อฟังก์ชั่นที่ต้องการ exportวิธีใช้งานก็โดย
  • function cherry() {
     console.log('Cherry');
    }
    
    function nanny() {
     console.log('Nanny');
    }
    
    //Export ฟังก์ชั่น
    module.exports = cherry
    module.exports = nanny
    
    
  • module.exports = {properties ซึ่งเป็นชื่อฟังก์ชั่นแต่ละตัวที่ต้องการ export นั่นเอง}ซึ่งการเขียนแบบนี้จะสะดวกต่อการใช้งานเวลาที่เรามีการสร้างหลาย ๆ ฟังก์ชั่นใน モジュールนั้น ๆ ต่อจากตัวอย่างด้านบน
  • function cherry() {
     console.log('Cherry');
    }
    
    function nanny() {
     console.log('Nanny');
    }
    
    //Export ฟังก์ชั่น
    module.exports = {
     cherry: cherry,
     nanny: nanny
    }
    
    เราสามารถเขียนให้สั้นลงได้โดย
    module.exports = {
     cherry,
     nanny
    }
    
  • exports.NameOfFunction = function NameOfFunction() { ... }วิธีนี้ก็เป็นอีกวิธีที่สะดวกอย่างมาก เหมาะสำหรับฟังก์ชั่นที่ต้องการ エクスポートมีไม่กี่ฟังก์ชั่น วิธีการใช้งานดัง コードด้านล่าง
  • exports.cherry = function cherry() {
         console.log('Cherry');
     }
    
    exports.nanny = function nanny() {
         console.log('Nanny');
     }
    
    เอาล่ะตอนนี้เราก็มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ モジュールและ การ エクスポートตัว モジュールเนื้อหายังไม่จบเพียงแค่นี้ยังมีตอนที่ 2อีกค่ะ