วิธีการใช้ モジュールของ ノード.jsตอนที่ 2)


จาก ซึ่งได้รู้จักกับ モジュールและการ エクスポートตัว モジュールกันแล้ว ที่นี้เราจะทำการ 輸入ตัว モジュールมาใช้งานกัน ซึ่งจากตอนที่ 1นั้น เราได้ทำการสร้างไฟล์ モジュールขึ้นมา 2ไฟล์คือ インデックス.jsและ 誰か.jsโดยเราจะทำการ ランไฟล์ インデックス.js

การ 輸入ตัว モジュールที่สร้างไว้
โดยจะใช้คำสั่ง require('part/ชื่อ Module');ดังเช่น เราได้สร้างไฟล์ 誰か.jsกับ インデックス.jsไว้ที่โฟลเดอร์เดียวกันก็ทำการ require('./someone.js');จากตอนที่ 1ที่ไฟล์ 誰か.jsเราได้มีการ エクスポートตัวฟังชั่นอยู่ 2ตัวคือ chery ()และ nanny ()ดังนั้นเราจะ 輸入ฟังก์ชั่นเหล่านี้จาก モジュールที่ชื่อ 誰かมาใช้งานดังตัวอย่าง
const someone = require('./someone.js');

someone.cherry();
someone.nanny();

จากนั้นทำการ ランไฟล์ インデックス.jsด้วยคำสั่ง
node index.js
ผลลัพท์ที่ได้จะเป็น
Cherry
Nanny
หรืออาจจะเขียนในรูปแบบนี้ก็ได้ดังเช่น
const {cherry, nanny} = require('./someone.js');

cherry();
nanny();
เมื่อทำการ ランก็จะได้ผลลัพท์เช่นเดียวกัน
...
เอาล่ะตอนนี้เรามีความรู้เกี่ยวกับการ エクスポート/インポートตัว モジュールกันแล้วนะคะหวังว่าจะเข้าใจกัน ในตอนที่ 3จะแสดงอีกตัวอย่างการ エクスポートและ 輸入ตัว モジュール